วันพุธที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2550
วันศุกร์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2550
การสร้างสื่อการเรียนการสอน
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ความหมายของสื่อการเรียนการสอน
ในการเรียนการสอนเป็นกระบวนการสื่อความหมายระหว่างผู้สอนและผู้เรียน โดยมีเจตนาที่จะถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ จึงจำเป็นต้องอาศัยตัวกลางหรือพาหะ ซึ่งเปรียบเสมือนสะพานเชื่อมโยงที่สำคัญ อาจเรียกชื่อแตกต่างกัน เช่น อุปกรณ์การสอน โสตทัศนอุปกรณ์ โสตทัศนูปกรณ์ สื่อการสอน สื่อการเรียน ซึ่งแต่ละคำหมายถึงตัวกลางทั้งสิ้น
........1.1 ความหมาย ประเภท ของสื่อการเรียนการสอน
ประเภทของสื่อการเรียนการสอนแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ
1. โสตทัศนวัสดุ (Audio Visual Materials) อาจจำแนกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ
1.1 สิ่งที่สามารถนำเสนอความรู้ได้ด้วยตัวเอง
1.2สิ่งที่ไม่สามารถนำเสนอความรู้ได้ด้วยตัวเอง
2. โสตทัศนูปกรณ์ (Audio Visual Equipments)
3.วิธีการและเทคนิค (Methods and Techniques)
........1.2 คุณค่า และประโยชน์ของสื่อการเรียนการสอน
ประโยชน์ของสื่อการเรียนการสอนที่มีต่อผู้เรียน
ช่วยกระตุ้นและเร้าความสนใจของผู้เรียน
ช่วยให้การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ สะดวก และรวดเร็ว
ช่วยแก้ปัญหาเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลในบริบทของการเรียนรู้
ช่วยให้เกิดปฎิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน และระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
ช่วยให้สมมารถนำเนื้อหาที่มีข้อจำกัดมาสอนในชั้นเรียนได้
ช่วยให้ผู้เรียน เรียนอย่างกระตือรือร้นและมีส่วนร่วมกับการเรียน
ช่วยให้ผู้เรียน เรียนรู้อย่างเพลิดเพลิน สนุกสนาน และไม่เบื่อหน่วยต่อการเรียน
........1.3 หลักการเลือกและการใช้สื่อการเรียนการสอน
หลักการใช้สื่อการสอน การที่ผู้สอนจะนำสื่อการสอนมาใช้ในการเรียนการสอน เพื่อจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์นั้น มีหลักการที่ผู้สอนควรมีความเข้าใจในการใช้สื่อการสอน
หน่วยที่ 2 จิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสื่อการเรียนการสอน
การเรียนการสอนซึ่งจะเป็นเรื่องราวทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา อันได้แก่ ทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎีแรงจูงใจ และทฤษฎีพัฒนาการ ลักษณะธรรมชาติผู้เรียน สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการเรียนรู้ตลอดจนวิธีการนำความรู้ความเข้าใจที่เกิดขึ้นไปประยุกต์ใช้
........2.1 จิตวิทยาการรับรู้
การรับรู้ คือ กระบวนการแปลหรือตีความต่อสิ่งเร้าข่าวสารที่ผ่านอวัยวะรับสัมผัสทั้งหลาย ได้แก่ ตา ห จมูก ลิ้น และกาย เข้าไปยังสมองในรูปของไฟฟ้าและเคมี สมองจึงเป็นคลังเก็บข้อมูลมหาศาลก็จะตีความสิ่งเร้าหรือข่าวสารนั้นโดยอาศัยการเทียบเคียงกับข้อมูลที่เคยสะสมไว้ก่อน หรือที่เรียกว่า ประสบการณ์เดิม
........2.2 จิตวิทยาการเรียนรู้
การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิมไปสู่พฤติกรรมใหม่ค่อนข้างถาวร และพฤติกรรมใหม่นี้เป็นผลมาจากประสบการณ์หรือการฝึกฝน ไม่ใช่ ผลจากการตอบสนองจากธรรมชาติ สัญชาตญาณ อุบัติเหตุ หรือความบังเอิญ
........2.3 จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการ (Developmental psychology) จะกล่าวถึงพัฒนาของบุคคลแต่ละวัยในด้านต่างๆ หรือความพร้อมของผู้เรียน ซึ่งช่วยให้การจัดการเรียน การอบรมสั่งสอนมีความสอดคล้องกับธรรมชาติของผู้เรียนยิ่งขึ้น
หน่วยที่ 3 การสื่อสาร
การสื่อสาร คือ กระบวนการ สำหรับ แลกเปลี่ยนสาร รูปแบบอย่างง่ายของสาร คือ จะต้องส่งจากผู้ส่งสารหรืออุปกรณ์เข้ารหัส ไปยังผู้รับสารหรืออุปกรณ์ถอดรหัส
........3.1 ความหมายและองค์ประกอบของการสื่อสาร
หมายถึงการโอนถ่ายหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างต้นทางและปลายทางโดยผ่านทางอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์หรือ คอมพิวเตอร์
........3.2 รูปแบบของการสื่อสาร
โดยปกติการสื่อสารข้อมูลส่วนใหญ่จะไม่ใช่การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน ตัวอย่างเช่น การใช้โทรศัพท์ ถึงแม้ว่าจะสามารถส่งข้อมูลได้สองทิศทางพร้อมกัน แต่เวลาพูดยังต้องสลับกันพูด อีกตัวอย่างหนึ่งคือ การสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งบางครั้งดูเหมือนว่าเป็นแบบสองทิศทางพร้อมกัน แต่ในความเป็นจริงแล้วเป็นการส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน ซึ่งช่วงเวลาที่สลับกันนี้อาจเป็นช่วงเวลาที่เร็วมาก จึงดูเหมือนว่าเป็นการส่งข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน
........3.3 แบบจำลองของการสื่อสาร
เบอร์โล (Berlo) เป็นผู้คิดกระบวนการของการติดต่อสื่อสารไว้ในลักษณะรูปแบบจำลอง S M C R Model (ดังรูป) (Berlo 1960:40-71) อันประกอบด้วย
1. ผู้ส่ง (Source)
2. ข้อมูลข่าวสาร (Message)
3. ช่องทางในการส่ง (Channel)
4. ผู้รับ (Receiver)
........3.4 การสื่อสารกับกระบวนการเรียนการสอน
1. การเรียนรู้ในรูปแบบการสื่อสารทางเดียว การให้สิ่งเร้าแก่ผู้เรียนในรูปแบบการสื่อสารทางเดียวหรือในการสื่อสารระบบวงเปิด (Open-Loop System) นี้ สามารถให้ได้โดยใช้การฉายภาพยนตร์ วีดิทัศน์ การใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการสอนแก่ผู้เรียนจำนวนมากในห้องเรียนขนาดใหญ่
2. การเรียนรู้ในรูปแบบการสื่อสารสองทาง การให้สิ่งเร้าแก่ผู้เรียนในรูปแบบการสื่อสารสองทางหรือการสื่อสารระบบวงปิด (Closed Loop System) นี้ สามารถให้ได้โดยการใช้อุปกรณ์ประเภทเครื่องช่วยสอน (Teaching Machine) หรือการอภิปรายกันในระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
หน่วยที่ 4 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
การออกแบบสื่อ องค์ประกอบที่สำคัญในการเรียนการสอนคือสิ่งที่ครูมักนำไปประกอบการเรียนการสอนนั่นก็คือ สื่อการสอนนั่นเอง สื่อการสอนนับว่ามีประโยชน์มากเพราะสื่อการสอนเปรียบเป็นกุญแจสำคัญที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้เข้าใจในเนื้อหาและได้เห็นภาพได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้นมากกว่าที่ครูผู้สอนจะสอนโดยการมาบรรยายหรือสอนตามเนื้อหา โดยไม่มีอุปกรณ์ช่วนสอนเลย
........4.1 ความหมายของการออกแบบสื่อการเรียนการสอน
การออกแบบสื่อการเรียนรู้ ( Material Design ) สิ่งที่นำมาพิจารณาประกอบการตัดสินใจ จัดหา จัดเตรียม และเลือกใช้ประกอบ การเรียนการสอน ต้องคำนึงถึงหลักการ - วัตถุประสงค์การเรียนรู้ - ลักษณะผู้เรียน ความเหมาะสมกับวัย ความสนใจ ระดับชั้น ความรู้ ทักษะ พื้นฐาน และประสบการณ์ของผู้เรียน - รูปแบบการเรียนการสอน และการเรียนรู้ - ธรรมชาติเนื้อหาสาระการเรียนรู้ และวิธีการนำเสนอที่เหมาะสม - สภาพการเรียน - ทรัพยากรต่าง ๆ
........4.2 วิธีระบบกับการออกแบบสื่อการเรียนการสอน
หลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับระบบการเรียนการสอนที่ใช้สื่อประสมรูปแบบต่าง ๆ
(Priciple and Theory of Instruction Relating to the Multimedia)
ทฤษฎีระบบTHE SYSTEMS APPROACH
แนวคิดเกี่ยวกับวิธีการเชิงระบบได้เกิดขึ้นมา เมื่อประมาณ 20 ปีที่ผ่านมา และเข้ามามีบทบาทในการบริหารการศึกษาในปัจจุบันเป็นอย่างมาก ส่วนด้านเทคโนโลยีทางการศึกษา จะเน้นการประยุกต์ใช้วิธีการเชิงระบบเข้ามาประสานประโยชน์ในการพัฒนาการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ
........4.3 การสร้างแบบจำลองการออกแบบสื่อการเรียนการสอน
แบบจำลอง
การสร้างแบบจำลอง หรือโมเดล (Model) คือการสร้างของสิ่งหนึ่งเพื่อแทน วัตถุ กระบวนการ ความสัมพันธ์ หรือ สถานการณ์ เช่น การสร้างแบบจำลองของโครงสร้างหลังคา เพื่อให้วิศวกรสามารถคำนวณต่างๆได้ ก่อนที่จะสร้างจริง ไม่ว่าจะเป็น แบบจำลองคณิตศาสตร์ แบบจำลองแบบไม่เป็นคณิตศาสตร์ เช่น แบบจำลองการทดสอบเชิงจิตวิทยาแบบจำลองที่เป็นรูปธรรมหรือจับต้องได้ แบบจำลองที่ใช้แผนภาพ เช่น แบบจำลองการเพิ่มของจำนวนกระต่าย หรือ แบบจำลองสามมิติ
หน่วยที่ 5 การผลิตสื่อกราฟิก
วัสดุกราฟิก หมายถึง วัสดุลายเส้นประกอบด้วย ภาพลายเส้น ตัวอักษร การ์ตูน และสัญลักษณ์ เพื่อเสนอเรื่องราวความรู้ หรือเนื้อหาสาระให้รับรู้และเข้าใจได้ง่ายรวดเร็ว
........5.1 ความหมาย และคุณค่าของสื่อกราฟิก
ความหมายและคุณค่าของสื่อกราฟิก
สื่อกราฟิก หมายถึง การอธิบายด้วยภาพประกอบข้อมูลต่างๆเพื่อให้เกิดความเข้าใจ
ประเภทของสื่อกราฟิก
1.การออกแบบ สัญลักษณ์ต่างๆ
2.การออกแบบและจัดทำแผนภูมิ แผนภาพ แผนสถิติ
3.การวาดภาพอวัยวะ และระบบต่างๆของร่างกายมนุษย์ ได้แก่ ระบบกระดูก ระบบกล้ามเนื้อ เป็นต้น
........5.2 การใช้สีกับสื่อการเรียนการสอน
สีและการใช้สี ความเข้าใจในเรื่องของสีเป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยให้งานออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์มีความสดใสสวยงาม น่าสนใจ
........5.3 การเขียนภาพการ์ตูน
การเขียนภาพการ์ตูนสำหรับเด็กนั้นโดยมากมักนิยมเขียนภาพสัตว์ด้วยฝีมือมายา คือจงใจให้ผิดเพี้ยนไปจากของจริงมากมายเกินกว่าปกติ ดูเสมือนว่าเขียนออกมาอย่างหยาบๆ ง่ายๆ แต่ช่างเขียนนั้นเขียนขึ้นโดยความยากลำบากทั้งนั้นทุกรูป
........5.4 การออกแบบตัวอักษรหัวเรื่อง
ตัวอักษรมนุษย์ได้ประดิษฐ์ขึ้นตั้งแต่สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น ตัวอักษรสร้างขึ้นเพื่อเป็นสื่อทางการติดต่อ ตัวอักษรสมัยโบราณส่วนมากจะวิวัฒนาการมาจากภาพ เช่น อักษรของอียิปต์ ชื่อว่าอักษรไฮเออโรกลิฟิค (Hieroglyphic) ประมาณ 6,000 ปีล่วงมาแล้ว ยังมีอักษรที่เรียกว่า “อักษรลิ่ม” (Cuneiform) ของชาวซูเมอร์เรียน ซึ่งมีความเก่าแก่เท่า ๆ กันกับอักษรของอียิปต์โบราณ ระยะเวลาที่ใกล้เคียงกันนั้นเอง ในทวีปเอเซีย ประเทศจีน และอินเดีย ก็ได้ประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้
หน่วยที่ 6 การสร้างสื่อราคาเยา
การสร้างสื่อราคาเยา (Low Cost Materials)
แนวคิดทางการศึกษา ปัจจุบันมุ่งขยายขอบเขตทรัพยากรการเรียนรู้ออกไปทุกแบบ เช่น สื่อเกี่ยวกับบุคคล อาคาร สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ ตลอดจนวิธีการต่าง ๆ ทางการศึกษา เกี่ยวกับวัสดุที่จะใช้เป็นการเรียนการสอนนั้น จึงมิได้จำกัดอยู่เพียง สิ่งที่ทำขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อโดยตรงเท่านั้น แต่วัสดุการสอน หมายถึง วัสดุทุกสิ่งทุกอย่างที่ ครูพึงหามาใช้ ประกอบการสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิ่งที่หามาได้ง่ายในท้องถิ่น ซึ่งครู ผู้สอนส่วนหนึ่งมักมองข้ามไป เมือนึกถึงวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการสอนสักเรื่องหนึ่ง ก็มักจะนึกถึงสื่อสำเร็จรูปจำพวกรูปภาพ แผนภูมิ สไลด์ ที่มีผลิตขาย ราคาค่อนข้างสูง
........6.1 ความหมาย คุณค่า และประโยชน์ของสื่อราคาเยา
สื่อราคาเยานอกจากจะหมายถึง สื่อที่มีราคาถูกแล้วยังหมายถึงสื่อต่าง ๆ ที่มีอยู่ตามธรรมชาติไม่ต้องซื้อหาด้วยราคาแพง สิ่งที่ครูคิดประดิษฐ์ขึ้นด้วยวัสดุราคาถูก หรือหาได้ง่าย รวมถึงสื่อสิ่งของได้เปล่าจากการแจกจ่ายเผยแพร่ของหน่วยงาน
........6.3 วัสดุกับเทคนิคการออกแบบ
วัสดุการสอน หมายถึงวัสดุทุกสิ่งทุกอย่าง ที่ครูพึงหามาใช้ประกอบการเรียนการสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิ่งที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น ซึ่งครูผู้สอนส่วนหนึ่งมักจะมองข้ามไป เมื่อนึกถึงวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการเรียนการสอนสักเรื่องหนึ่ง ก็มักจะนึกถึงเฉพาะสื่อสำเร็จรูป จำพวกรูปภาพ แผนภูมิสไลด์ ที่มีผลิตขายเป็นธุรกิจการค้า ราคาค่อนข้างสูง
........6.4 การประมินสื่อการสอนราคาเยา
1. ความจำเป็นด้านเศรษฐกิจของชาติ
2. ฐานะการเงินของโรงเรียน
3. วัสดุอุปกรณ์สำเร็จรูปมีราคาสูง
4. สื่อสำเร็จรูปไม่สอดคล้องกับสภาพชีวิตและสังคม
5 คุณสมบัติของสื่อที่จะส่งผลต่อการเรียนรู้
หน่วยที่ 7 การผลิตสื่อการเรียนการสอนด้วยคอมพิวเตอร์
การผลิตสื่อการสอน e-learningเป็นที่ทราบกันดีว่า ปัจจุบันมีการพูดถึงการพัฒนาระบบ e-learning ในสถาบันการศึกษาเป็นอย่างมาก รัฐบาลได้ให้การสนับสนุนกับการพัฒนาระบบ e-learning เป็นอย่างมาก และได้มีการพัฒนาในส่วนต่างๆ อย่างรวดเร็วตามการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ท ตัวอย่างที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรมก็คือการถือกำเนิดของ มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย (Thailand cyber university) และการพัฒนาศูนย์กลาง e-learning ของโรงเรียนมัธยมศึกษาทั่วประเทศ
........7.1 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) หมายถึง สื่อการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง ซึ่งใช้ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการนำเสนอสื่อประสมอันได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง กราฟิก แผนภูมิ กราฟ วิดีทัศน์ ภาพเคลื่อนไหว และเสียง เพื่อถ่ายทอดเนื้อหาบทเรียน หรือองค์ความรู้ในลักษณะที่ ใกล้เคียงกับการสอนจริงในห้องเรียนมากที่สุด
........7.2 การใช้เครือข่ายเพื่อการเรียนการสอน
ตามกระแสการเปลี่ยนสังคมที่ต้องมีความรู้ใหม่เป็นหลักฐานการเรียนรู้เทคโนโลยีและการเก็บความรูั้ใหม่จึงเป็นสิ่งที่ เราขาดไม่ได้ สถาบันการศึกษาและครูมีบทบาทมากขึ้นเพราะต้องเตรียมการเรียนการสอนเพื่อส่งนักเรียนให้เข้าทำงาน ในสังคมใหม่ สมาคม APEC เพื่อการศึกษาทางอินเตอร์เนตจัดทำไว้เพื่อตอบสนองความต้องการดังกล่าวของนักเรียน และครู
หน่วยที่ 8 การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
การสร้างสรรค์งานสิ่งพิมพ์ ในรูปแบบต่างๆ ต้องทำความรู้จักกับรายละเอียดเบื้องต้นที่จำเป็นก่อน โดยการบวนการผลิตงานสิ่งพิมพ์จะประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ เช่น การจัดเตรียมไฟล์งาน การจัดการกับรูปภาพ การเลือกกระดาษ การออกแบบรูปลักษณ์ หรือรูปเล่ม การจัดหน้า เพื่อให้ได้ผลงานตามรูปแบบที่ต้องการ
........8.1 ความหมาย คุณค่า และประโยชน์ของสื่อสิ่งพิมพ์
สิ่งพิมพ์ หมายถึง สมุด แผ่นกระดาษหรือวัตถุใดๆ
ที่พิมพ์ขึ้น รวมทั้งบทเพลง แผนที่ แผนผัง ภาพวาด
ภาพระบายสีใบประกาศ แผ่นเสียงหรือสิ่งอื่นใดที่มีลักษณะเช่นเดียวกัน
........8.2 ประเภทของสื่อสิ่งพิมพ์
จำแนกได้ เป็น 4 กลุ่มใหญ่ คือ
1. หนังสือพิมพ์
2. นิตยสารวารสาร
3. หนังสือเล่ม
4. สิ่งพิมพ์เฉพาะกิจ
........8.3 ระบบการพิมพ์
ในโลกนี้มีอยู่หลายอย่างค่ะ แต่ที่จะแนะนำนี่เป็นระบบที่นิยมใช้ในบ้านเรา
1. ระบบออฟเซ็ต
2. ระบบซิลค์สกรีน
3. การพิมพ์โรเนียวแบบดิจิตอล
........8.4 การเลือกและการใช้สื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการเรียนการสอน
การพิมพ์จึงเป็นวิธีการหนึ่งในการนำมาใช้ผลิตสำเนาเอกสารทางวิชาการซึ่งต้องการปริมาณมาก เช่น หนังสือ ตำราต่าง ๆ เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน หรือเพื่อใช้เป็นคู่มือ เป็นตำราในการค้นคว้าอ้างอิง ทั้งยังช่วยในการเผยแพร่ ความคิดทางด้าน วิทยาการต่าง ๆ ให้เจริญก้าวหน้าอีกด้วย ในการให้การศึกษาจำเป็นต้องมีเอกสารประกอบการเรียนการสอน เพื่อขยายความรู้และทฤษฎีต่าง ๆ ให้กว้างขวางขึ้น
ความหมายของสื่อการเรียนการสอน
ในการเรียนการสอนเป็นกระบวนการสื่อความหมายระหว่างผู้สอนและผู้เรียน โดยมีเจตนาที่จะถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ จึงจำเป็นต้องอาศัยตัวกลางหรือพาหะ ซึ่งเปรียบเสมือนสะพานเชื่อมโยงที่สำคัญ อาจเรียกชื่อแตกต่างกัน เช่น อุปกรณ์การสอน โสตทัศนอุปกรณ์ โสตทัศนูปกรณ์ สื่อการสอน สื่อการเรียน ซึ่งแต่ละคำหมายถึงตัวกลางทั้งสิ้น
........1.1 ความหมาย ประเภท ของสื่อการเรียนการสอน
ประเภทของสื่อการเรียนการสอนแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ
1. โสตทัศนวัสดุ (Audio Visual Materials) อาจจำแนกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ
1.1 สิ่งที่สามารถนำเสนอความรู้ได้ด้วยตัวเอง
1.2สิ่งที่ไม่สามารถนำเสนอความรู้ได้ด้วยตัวเอง
2. โสตทัศนูปกรณ์ (Audio Visual Equipments)
3.วิธีการและเทคนิค (Methods and Techniques)
........1.2 คุณค่า และประโยชน์ของสื่อการเรียนการสอน
ประโยชน์ของสื่อการเรียนการสอนที่มีต่อผู้เรียน
ช่วยกระตุ้นและเร้าความสนใจของผู้เรียน
ช่วยให้การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ สะดวก และรวดเร็ว
ช่วยแก้ปัญหาเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลในบริบทของการเรียนรู้
ช่วยให้เกิดปฎิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน และระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
ช่วยให้สมมารถนำเนื้อหาที่มีข้อจำกัดมาสอนในชั้นเรียนได้
ช่วยให้ผู้เรียน เรียนอย่างกระตือรือร้นและมีส่วนร่วมกับการเรียน
ช่วยให้ผู้เรียน เรียนรู้อย่างเพลิดเพลิน สนุกสนาน และไม่เบื่อหน่วยต่อการเรียน
........1.3 หลักการเลือกและการใช้สื่อการเรียนการสอน
หลักการใช้สื่อการสอน การที่ผู้สอนจะนำสื่อการสอนมาใช้ในการเรียนการสอน เพื่อจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์นั้น มีหลักการที่ผู้สอนควรมีความเข้าใจในการใช้สื่อการสอน
หน่วยที่ 2 จิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสื่อการเรียนการสอน
การเรียนการสอนซึ่งจะเป็นเรื่องราวทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา อันได้แก่ ทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎีแรงจูงใจ และทฤษฎีพัฒนาการ ลักษณะธรรมชาติผู้เรียน สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการเรียนรู้ตลอดจนวิธีการนำความรู้ความเข้าใจที่เกิดขึ้นไปประยุกต์ใช้
........2.1 จิตวิทยาการรับรู้
การรับรู้ คือ กระบวนการแปลหรือตีความต่อสิ่งเร้าข่าวสารที่ผ่านอวัยวะรับสัมผัสทั้งหลาย ได้แก่ ตา ห จมูก ลิ้น และกาย เข้าไปยังสมองในรูปของไฟฟ้าและเคมี สมองจึงเป็นคลังเก็บข้อมูลมหาศาลก็จะตีความสิ่งเร้าหรือข่าวสารนั้นโดยอาศัยการเทียบเคียงกับข้อมูลที่เคยสะสมไว้ก่อน หรือที่เรียกว่า ประสบการณ์เดิม
........2.2 จิตวิทยาการเรียนรู้
การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิมไปสู่พฤติกรรมใหม่ค่อนข้างถาวร และพฤติกรรมใหม่นี้เป็นผลมาจากประสบการณ์หรือการฝึกฝน ไม่ใช่ ผลจากการตอบสนองจากธรรมชาติ สัญชาตญาณ อุบัติเหตุ หรือความบังเอิญ
........2.3 จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการ (Developmental psychology) จะกล่าวถึงพัฒนาของบุคคลแต่ละวัยในด้านต่างๆ หรือความพร้อมของผู้เรียน ซึ่งช่วยให้การจัดการเรียน การอบรมสั่งสอนมีความสอดคล้องกับธรรมชาติของผู้เรียนยิ่งขึ้น
หน่วยที่ 3 การสื่อสาร
การสื่อสาร คือ กระบวนการ สำหรับ แลกเปลี่ยนสาร รูปแบบอย่างง่ายของสาร คือ จะต้องส่งจากผู้ส่งสารหรืออุปกรณ์เข้ารหัส ไปยังผู้รับสารหรืออุปกรณ์ถอดรหัส
........3.1 ความหมายและองค์ประกอบของการสื่อสาร
หมายถึงการโอนถ่ายหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างต้นทางและปลายทางโดยผ่านทางอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์หรือ คอมพิวเตอร์
........3.2 รูปแบบของการสื่อสาร
โดยปกติการสื่อสารข้อมูลส่วนใหญ่จะไม่ใช่การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน ตัวอย่างเช่น การใช้โทรศัพท์ ถึงแม้ว่าจะสามารถส่งข้อมูลได้สองทิศทางพร้อมกัน แต่เวลาพูดยังต้องสลับกันพูด อีกตัวอย่างหนึ่งคือ การสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งบางครั้งดูเหมือนว่าเป็นแบบสองทิศทางพร้อมกัน แต่ในความเป็นจริงแล้วเป็นการส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน ซึ่งช่วงเวลาที่สลับกันนี้อาจเป็นช่วงเวลาที่เร็วมาก จึงดูเหมือนว่าเป็นการส่งข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน
........3.3 แบบจำลองของการสื่อสาร
เบอร์โล (Berlo) เป็นผู้คิดกระบวนการของการติดต่อสื่อสารไว้ในลักษณะรูปแบบจำลอง S M C R Model (ดังรูป) (Berlo 1960:40-71) อันประกอบด้วย
1. ผู้ส่ง (Source)
2. ข้อมูลข่าวสาร (Message)
3. ช่องทางในการส่ง (Channel)
4. ผู้รับ (Receiver)
........3.4 การสื่อสารกับกระบวนการเรียนการสอน
1. การเรียนรู้ในรูปแบบการสื่อสารทางเดียว การให้สิ่งเร้าแก่ผู้เรียนในรูปแบบการสื่อสารทางเดียวหรือในการสื่อสารระบบวงเปิด (Open-Loop System) นี้ สามารถให้ได้โดยใช้การฉายภาพยนตร์ วีดิทัศน์ การใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการสอนแก่ผู้เรียนจำนวนมากในห้องเรียนขนาดใหญ่
2. การเรียนรู้ในรูปแบบการสื่อสารสองทาง การให้สิ่งเร้าแก่ผู้เรียนในรูปแบบการสื่อสารสองทางหรือการสื่อสารระบบวงปิด (Closed Loop System) นี้ สามารถให้ได้โดยการใช้อุปกรณ์ประเภทเครื่องช่วยสอน (Teaching Machine) หรือการอภิปรายกันในระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
หน่วยที่ 4 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
การออกแบบสื่อ องค์ประกอบที่สำคัญในการเรียนการสอนคือสิ่งที่ครูมักนำไปประกอบการเรียนการสอนนั่นก็คือ สื่อการสอนนั่นเอง สื่อการสอนนับว่ามีประโยชน์มากเพราะสื่อการสอนเปรียบเป็นกุญแจสำคัญที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้เข้าใจในเนื้อหาและได้เห็นภาพได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้นมากกว่าที่ครูผู้สอนจะสอนโดยการมาบรรยายหรือสอนตามเนื้อหา โดยไม่มีอุปกรณ์ช่วนสอนเลย
........4.1 ความหมายของการออกแบบสื่อการเรียนการสอน
การออกแบบสื่อการเรียนรู้ ( Material Design ) สิ่งที่นำมาพิจารณาประกอบการตัดสินใจ จัดหา จัดเตรียม และเลือกใช้ประกอบ การเรียนการสอน ต้องคำนึงถึงหลักการ - วัตถุประสงค์การเรียนรู้ - ลักษณะผู้เรียน ความเหมาะสมกับวัย ความสนใจ ระดับชั้น ความรู้ ทักษะ พื้นฐาน และประสบการณ์ของผู้เรียน - รูปแบบการเรียนการสอน และการเรียนรู้ - ธรรมชาติเนื้อหาสาระการเรียนรู้ และวิธีการนำเสนอที่เหมาะสม - สภาพการเรียน - ทรัพยากรต่าง ๆ
........4.2 วิธีระบบกับการออกแบบสื่อการเรียนการสอน
หลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับระบบการเรียนการสอนที่ใช้สื่อประสมรูปแบบต่าง ๆ
(Priciple and Theory of Instruction Relating to the Multimedia)
ทฤษฎีระบบTHE SYSTEMS APPROACH
แนวคิดเกี่ยวกับวิธีการเชิงระบบได้เกิดขึ้นมา เมื่อประมาณ 20 ปีที่ผ่านมา และเข้ามามีบทบาทในการบริหารการศึกษาในปัจจุบันเป็นอย่างมาก ส่วนด้านเทคโนโลยีทางการศึกษา จะเน้นการประยุกต์ใช้วิธีการเชิงระบบเข้ามาประสานประโยชน์ในการพัฒนาการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ
........4.3 การสร้างแบบจำลองการออกแบบสื่อการเรียนการสอน
แบบจำลอง
การสร้างแบบจำลอง หรือโมเดล (Model) คือการสร้างของสิ่งหนึ่งเพื่อแทน วัตถุ กระบวนการ ความสัมพันธ์ หรือ สถานการณ์ เช่น การสร้างแบบจำลองของโครงสร้างหลังคา เพื่อให้วิศวกรสามารถคำนวณต่างๆได้ ก่อนที่จะสร้างจริง ไม่ว่าจะเป็น แบบจำลองคณิตศาสตร์ แบบจำลองแบบไม่เป็นคณิตศาสตร์ เช่น แบบจำลองการทดสอบเชิงจิตวิทยาแบบจำลองที่เป็นรูปธรรมหรือจับต้องได้ แบบจำลองที่ใช้แผนภาพ เช่น แบบจำลองการเพิ่มของจำนวนกระต่าย หรือ แบบจำลองสามมิติ
หน่วยที่ 5 การผลิตสื่อกราฟิก
วัสดุกราฟิก หมายถึง วัสดุลายเส้นประกอบด้วย ภาพลายเส้น ตัวอักษร การ์ตูน และสัญลักษณ์ เพื่อเสนอเรื่องราวความรู้ หรือเนื้อหาสาระให้รับรู้และเข้าใจได้ง่ายรวดเร็ว
........5.1 ความหมาย และคุณค่าของสื่อกราฟิก
ความหมายและคุณค่าของสื่อกราฟิก
สื่อกราฟิก หมายถึง การอธิบายด้วยภาพประกอบข้อมูลต่างๆเพื่อให้เกิดความเข้าใจ
ประเภทของสื่อกราฟิก
1.การออกแบบ สัญลักษณ์ต่างๆ
2.การออกแบบและจัดทำแผนภูมิ แผนภาพ แผนสถิติ
3.การวาดภาพอวัยวะ และระบบต่างๆของร่างกายมนุษย์ ได้แก่ ระบบกระดูก ระบบกล้ามเนื้อ เป็นต้น
........5.2 การใช้สีกับสื่อการเรียนการสอน
สีและการใช้สี ความเข้าใจในเรื่องของสีเป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยให้งานออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์มีความสดใสสวยงาม น่าสนใจ
........5.3 การเขียนภาพการ์ตูน
การเขียนภาพการ์ตูนสำหรับเด็กนั้นโดยมากมักนิยมเขียนภาพสัตว์ด้วยฝีมือมายา คือจงใจให้ผิดเพี้ยนไปจากของจริงมากมายเกินกว่าปกติ ดูเสมือนว่าเขียนออกมาอย่างหยาบๆ ง่ายๆ แต่ช่างเขียนนั้นเขียนขึ้นโดยความยากลำบากทั้งนั้นทุกรูป
........5.4 การออกแบบตัวอักษรหัวเรื่อง
ตัวอักษรมนุษย์ได้ประดิษฐ์ขึ้นตั้งแต่สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น ตัวอักษรสร้างขึ้นเพื่อเป็นสื่อทางการติดต่อ ตัวอักษรสมัยโบราณส่วนมากจะวิวัฒนาการมาจากภาพ เช่น อักษรของอียิปต์ ชื่อว่าอักษรไฮเออโรกลิฟิค (Hieroglyphic) ประมาณ 6,000 ปีล่วงมาแล้ว ยังมีอักษรที่เรียกว่า “อักษรลิ่ม” (Cuneiform) ของชาวซูเมอร์เรียน ซึ่งมีความเก่าแก่เท่า ๆ กันกับอักษรของอียิปต์โบราณ ระยะเวลาที่ใกล้เคียงกันนั้นเอง ในทวีปเอเซีย ประเทศจีน และอินเดีย ก็ได้ประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้
หน่วยที่ 6 การสร้างสื่อราคาเยา
การสร้างสื่อราคาเยา (Low Cost Materials)
แนวคิดทางการศึกษา ปัจจุบันมุ่งขยายขอบเขตทรัพยากรการเรียนรู้ออกไปทุกแบบ เช่น สื่อเกี่ยวกับบุคคล อาคาร สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ ตลอดจนวิธีการต่าง ๆ ทางการศึกษา เกี่ยวกับวัสดุที่จะใช้เป็นการเรียนการสอนนั้น จึงมิได้จำกัดอยู่เพียง สิ่งที่ทำขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อโดยตรงเท่านั้น แต่วัสดุการสอน หมายถึง วัสดุทุกสิ่งทุกอย่างที่ ครูพึงหามาใช้ ประกอบการสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิ่งที่หามาได้ง่ายในท้องถิ่น ซึ่งครู ผู้สอนส่วนหนึ่งมักมองข้ามไป เมือนึกถึงวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการสอนสักเรื่องหนึ่ง ก็มักจะนึกถึงสื่อสำเร็จรูปจำพวกรูปภาพ แผนภูมิ สไลด์ ที่มีผลิตขาย ราคาค่อนข้างสูง
........6.1 ความหมาย คุณค่า และประโยชน์ของสื่อราคาเยา
สื่อราคาเยานอกจากจะหมายถึง สื่อที่มีราคาถูกแล้วยังหมายถึงสื่อต่าง ๆ ที่มีอยู่ตามธรรมชาติไม่ต้องซื้อหาด้วยราคาแพง สิ่งที่ครูคิดประดิษฐ์ขึ้นด้วยวัสดุราคาถูก หรือหาได้ง่าย รวมถึงสื่อสิ่งของได้เปล่าจากการแจกจ่ายเผยแพร่ของหน่วยงาน
........6.3 วัสดุกับเทคนิคการออกแบบ
วัสดุการสอน หมายถึงวัสดุทุกสิ่งทุกอย่าง ที่ครูพึงหามาใช้ประกอบการเรียนการสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิ่งที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น ซึ่งครูผู้สอนส่วนหนึ่งมักจะมองข้ามไป เมื่อนึกถึงวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการเรียนการสอนสักเรื่องหนึ่ง ก็มักจะนึกถึงเฉพาะสื่อสำเร็จรูป จำพวกรูปภาพ แผนภูมิสไลด์ ที่มีผลิตขายเป็นธุรกิจการค้า ราคาค่อนข้างสูง
........6.4 การประมินสื่อการสอนราคาเยา
1. ความจำเป็นด้านเศรษฐกิจของชาติ
2. ฐานะการเงินของโรงเรียน
3. วัสดุอุปกรณ์สำเร็จรูปมีราคาสูง
4. สื่อสำเร็จรูปไม่สอดคล้องกับสภาพชีวิตและสังคม
5 คุณสมบัติของสื่อที่จะส่งผลต่อการเรียนรู้
หน่วยที่ 7 การผลิตสื่อการเรียนการสอนด้วยคอมพิวเตอร์
การผลิตสื่อการสอน e-learningเป็นที่ทราบกันดีว่า ปัจจุบันมีการพูดถึงการพัฒนาระบบ e-learning ในสถาบันการศึกษาเป็นอย่างมาก รัฐบาลได้ให้การสนับสนุนกับการพัฒนาระบบ e-learning เป็นอย่างมาก และได้มีการพัฒนาในส่วนต่างๆ อย่างรวดเร็วตามการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ท ตัวอย่างที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรมก็คือการถือกำเนิดของ มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย (Thailand cyber university) และการพัฒนาศูนย์กลาง e-learning ของโรงเรียนมัธยมศึกษาทั่วประเทศ
........7.1 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) หมายถึง สื่อการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง ซึ่งใช้ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการนำเสนอสื่อประสมอันได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง กราฟิก แผนภูมิ กราฟ วิดีทัศน์ ภาพเคลื่อนไหว และเสียง เพื่อถ่ายทอดเนื้อหาบทเรียน หรือองค์ความรู้ในลักษณะที่ ใกล้เคียงกับการสอนจริงในห้องเรียนมากที่สุด
........7.2 การใช้เครือข่ายเพื่อการเรียนการสอน
ตามกระแสการเปลี่ยนสังคมที่ต้องมีความรู้ใหม่เป็นหลักฐานการเรียนรู้เทคโนโลยีและการเก็บความรูั้ใหม่จึงเป็นสิ่งที่ เราขาดไม่ได้ สถาบันการศึกษาและครูมีบทบาทมากขึ้นเพราะต้องเตรียมการเรียนการสอนเพื่อส่งนักเรียนให้เข้าทำงาน ในสังคมใหม่ สมาคม APEC เพื่อการศึกษาทางอินเตอร์เนตจัดทำไว้เพื่อตอบสนองความต้องการดังกล่าวของนักเรียน และครู
หน่วยที่ 8 การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
การสร้างสรรค์งานสิ่งพิมพ์ ในรูปแบบต่างๆ ต้องทำความรู้จักกับรายละเอียดเบื้องต้นที่จำเป็นก่อน โดยการบวนการผลิตงานสิ่งพิมพ์จะประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ เช่น การจัดเตรียมไฟล์งาน การจัดการกับรูปภาพ การเลือกกระดาษ การออกแบบรูปลักษณ์ หรือรูปเล่ม การจัดหน้า เพื่อให้ได้ผลงานตามรูปแบบที่ต้องการ
........8.1 ความหมาย คุณค่า และประโยชน์ของสื่อสิ่งพิมพ์
สิ่งพิมพ์ หมายถึง สมุด แผ่นกระดาษหรือวัตถุใดๆ
ที่พิมพ์ขึ้น รวมทั้งบทเพลง แผนที่ แผนผัง ภาพวาด
ภาพระบายสีใบประกาศ แผ่นเสียงหรือสิ่งอื่นใดที่มีลักษณะเช่นเดียวกัน
........8.2 ประเภทของสื่อสิ่งพิมพ์
จำแนกได้ เป็น 4 กลุ่มใหญ่ คือ
1. หนังสือพิมพ์
2. นิตยสารวารสาร
3. หนังสือเล่ม
4. สิ่งพิมพ์เฉพาะกิจ
........8.3 ระบบการพิมพ์
ในโลกนี้มีอยู่หลายอย่างค่ะ แต่ที่จะแนะนำนี่เป็นระบบที่นิยมใช้ในบ้านเรา
1. ระบบออฟเซ็ต
2. ระบบซิลค์สกรีน
3. การพิมพ์โรเนียวแบบดิจิตอล
........8.4 การเลือกและการใช้สื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการเรียนการสอน
การพิมพ์จึงเป็นวิธีการหนึ่งในการนำมาใช้ผลิตสำเนาเอกสารทางวิชาการซึ่งต้องการปริมาณมาก เช่น หนังสือ ตำราต่าง ๆ เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน หรือเพื่อใช้เป็นคู่มือ เป็นตำราในการค้นคว้าอ้างอิง ทั้งยังช่วยในการเผยแพร่ ความคิดทางด้าน วิทยาการต่าง ๆ ให้เจริญก้าวหน้าอีกด้วย ในการให้การศึกษาจำเป็นต้องมีเอกสารประกอบการเรียนการสอน เพื่อขยายความรู้และทฤษฎีต่าง ๆ ให้กว้างขวางขึ้น
วันอังคารที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2550
การสร้างสื่อเพื่อการเรียนการสอน
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเรียนการสอน
.....1.1 ความหมาย ประเภท ของสื่อการเรียนการสอน
.....1.2 คุณค่า และ ประโยชน์ของสื่อการเรียนการสอน
.....1.3 หลัการลือกและการใช้สื่อการเรียนการสอน
หน่วยที่ 2 จ
.....1.1 ความหมาย ประเภท ของสื่อการเรียนการสอน
.....1.2 คุณค่า และ ประโยชน์ของสื่อการเรียนการสอน
.....1.3 หลัการลือกและการใช้สื่อการเรียนการสอน
หน่วยที่ 2 จ
1. สื่อการสอน
....ความหมายของสื่อการสอน........นักวิชาการในวงการเทคโนโลยีทางการศึกษา โสตทัศนศึกษา และวงการการศึกษา ได้ให้คำจำกัดความของ “สื่อการสอน” ไว้อย่างหลากหลาย ดังเช่น
....ชอร์ส กล่าวว่า เครื่องมือที่ช่วยสื่อความหมายจัดขึ้นโดยครูและนักเรียน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เครื่องมือการสอนทุกชนิดจัดเป็นสื่อการสอน เช่น หนังสือในห้องสมุด โสตทัศนวัสดุต่าง ๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ สไลด์ ฟิล์มสตริป รูปภาพ แผนที่ ของจริง และทรัพยากรจากแหล่งชุมชน
....บราวน์ และคณะ กล่าวว่า จำพวกอุปกรณ์ทั้งหลายที่สามารถช่วยเสนอความรู้ให้แก่ผู้เรียนจนเกิดผลการเรียนที่ดี ทั้งนี้รวมถึง กิจกรรมต่าง ๆ ที่ไม่เฉพาะแต่สิ่งที่เป็นวัตถุหรือเครื่องมือเท่านั้น เช่น การศึกษานอกสถานที่ การแสดง บทบาทนาฏการ การสาธิต การทดลอง ตลอดจนการสัมภาษณ์และการสำรวจ เป็นต้น
....เปรื่อง กุมุท กล่าวว่า สื่อการสอน หมายถึงสิ่งต่าง ๆ ที่ใช้เป็นเครื่องมือหรือช่องทางสำหรับทำให้การสอนของครูถึงผู้เรียนและทำให้ผู้เรียนเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายที่ครูวางไว้ได้เป็นอย่างดี
....ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ให้ความหมาย สื่อการสอนว่า วัสดุอุปกรณ์และวิธีการประกอบการสอนเพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการสื่อความหมายที่ผู้สอนประสงค์จะส่ง หรือถ่ายทอดไปยังผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
....ดังนั้น สรุปได้ว่า สื่อการสอน หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ ซึ่งถูกนำมาใช้ในการการเรียนการสอน เพื่อเป็นตัวกลางในการนำส่งหรือถ่ายทอดความรู้ ทักษะ และเจตคติ จากผู้สอนหรือแหล่งความรู้ไปยังผู้เรียน ช่วยให้การเรียนการสอนดำเนินไปอย่างสะดวกและมีประสิทธิภาพ และทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอนที่ตั้งไว้
....ประโยชน์ของสื่อการเรียนการสอน....
....นักการศึกษาได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของสื่อการสอนไว้หลากหลาย เมื่อพิจารณาเกี่ยวกับประโยชน์หรือคุณค่าของสื่อการสอนออกโดยแบ่งออกเป็น 2 ด้าน ดังต่อไปนี้
....1. ประโยชน์ของสื่อการสอนที่มีต่อผู้เรียน....
- ช่วยกระตุ้นและเร้าความสนใจของผู้เรียน
- ช่วยให้การเรียนรู้ของผู้เรียนเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ สะดวก และรวดเร็ว
- ช่วยแก้ปัญหาเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลในบริบทของการเรียนรู้
- ช่วยให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน และระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
- ช่วยให้สามารถนำเนื้อหาที่มีข้อจำกัดมาสอนในชั้นเรียนได้
- ช่วยให้ผู้เรียนเรียนอย่างกระตือรือร้นและมีส่วนร่วมกับการเรียน
- ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างเพลิดเพลิน สนุกสนาน และไม่เบื่อหน่ายต่อการเรียน
....2. ประโยชน์ของสื่อการสอนที่มีต่อผู้สอน....
- ช่วยแบ่งเบาภาระของผู้สอนในด้านการเตรียมการสอนหรือเนื้อหาการสอน
- ช่วยสร้างบรรยากาศในการสอนให้น่าสนใจ
- ช่วยสร้างความมั่นใจในการสอนให้แก่ผู้สอน
- กระตุ้นให้ผู้สอนตื่นตัวอยู่เสมอ
....ประเภทของสื่อการสอน....
....เอ็ดการ์ เดล ได้แบ่งประเภทของสื่อการสอนออกเป็น 11 กลุ่ม ตามระดับการมีส่วนร่วมของผู้เรียน หรือระดับประสบการณ์ที่ผู้เรียนจะได้รับดังนี้
..1. ประสบการณ์ตรง (Direct or Purposeful Experiences)
ตัวอย่างเช่น การทดลองผสมสารเคมี การฝึกหัดทำอาหาร การฝึกหัดตัดเย็บเสื้อผ้า เป็นต้น..2. ประสบการณ์จำลอง (Contrived experiences)
ตัวอย่างเช่น การฝึกหัดผ่าตัดตาด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การฝึกหัดขับเครื่องบินด้วยเครื่อง Flight Simulator เป็นต้น..3. ประสบการณ์นาฏการหรือการแสดง (Dramatized Experience)
ตัวอย่างเช่น การแสดงบทบาทสมมติ หรือการแสดงละคร
..4. การสาธิต (Demonstration)
ตัวอย่างเช่น การสาธิตการอาบน้ำเด็กแรกเกิด การสาธิตการแกะสลักผลไม้ เป็นต้น..5. การศึกษานอกสถานที่ (Field Trip)
ตัวอย่างเช่น การท่องเที่ยว หรือการเยี่ยมชมสถานที่ต่าง ๆ มีการจดบันทึกสิ่งที่พบตลอดจนสัมภาษณ์บุคคลที่ดูแลสถานที่เยี่ยมชม..6. นิทรรศการ (Exhibits)
ตัวอย่างเช่น นิทรรศการ หรือการจัดป้ายนิเทศ
..7. โทรทัศน์ (Television)
ตัวอย่างเช่น เทปวีดิทัศน์ หรือเป็นรายการสด
..8. ภาพยนตร์ (Motion Picture)
ตัวอย่างเช่น ภาพยนตร์ที่มีลักษณะเป็นภาพเคลื่อนไหว มีเสียงประกอบ และได้บันทึกลงไว้ในแผ่นฟิล์ม..9. ภาพนิ่ง วิทยุ และแผ่นเสียง (Recording, Radio, and Still Picture)
ตัวอย่างเช่น สื่อภาพนิ่งซึ่งอาจเป็นรูปภาพ สไลด์ หรือภาพวาด ภาพล้อ หรือภาพเหมือนจริง..10. ทศนสัญลักษณ์ (Visual Symbols)
ตัวอย่างเช่น พวกวัสดุกราฟิกทุกประเภท เช่น แผนที่ แผนภูมิ แผนสถิติ แผนภาพ การ์ตูนเรื่อง หรือสัญลักษณ์รูปแบบต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในการสื่อความหมาย
..11. วจนสัญลักษณ์ (Verbal Symbols)
ตัวอย่างเช่น รูปแบบของคำพูด คำบรรยาย ตัวหนังสือ ตัวเลข หรือสัญลักษณ์พิเศษต่างๆ ที่ใช้ในภาษาการเขียน
....การออกแบบสื่อการสอน....
....สื่อการสอน คือ การนำสื่อมาใช้ในการเรียนการสอน ซึ่งเป็นการนำวัสดุ เครื่องมือและวิธีการมาประกอบในการถ่ายทอดความรู้และเนื้อหาไปยังผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ในสิ่งที่ครูได้ถ่ายทอด รวมไปถึงมีความเข้าใจตรงตามเนื้อหา นอกจากนี้ยังช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ง่ายยิ่งขึ้น และช่วยประหยัดเวลา
....ลักษณะการออกแบบที่ดี (Characteristics of Good Design) มีลักษณะดังต่อไปนี้
..1.ควรเป็นการออกแบบที่เหมาะสมกับความมุ่งหมายของการนำไปใช้
..2. ควรเป็นการออกแบบที่มีลักษณะง่ายต่อการมำความเข้าใจ การนำไปใช้งานและกระบวนการผลิต
..3. ควรมีสัดส่วนที่ดีและเหมาะสมตามสภาพการใช้งานของสื่อ
..4. ควรมีความกลมกลืนของส่วนประกอบ ตลอดจนสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมของการใช้และการผลิตสื่อชนิดนั้น
....องค์ประกอบของการออกแบบมีดังต่อไปนี้
..1. จุด ( Dots )
..2. เส้น ( Line )
..3. รูปร่าง รูปทรง ( Shape- Form )
..4. ปริมาตร ( Volume )
..5. ลักษณะพื้นผิว ( Texture )
..6. บริเวณว่าง ( Space )
..7. สี ( Color )
..8. น้ำหนักสื่อ ( Value )
....การออกแบบผลิตสื่อใหม่ ควรคำนึงถึงดังนี้
1. จุดมุ่งหมาย : ต้องพิจารณาว่าต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนอะไร
2. ผู้เรียน : ควรได้พิจารณาผู้เรียนทั้งโดยรวมว่าเป็นใคร มีความรู้พื้นฐานและทักษะอะไรมาก่อน
3. ค่าใช้จ่าย : มีงบประมาณเพียงพอหรือไม่
4. ความเชี่ยวชาญด้านเทคนิค : ถ้าตนเองไม่มีทักษะจะหาผู้เชี่ยวชาญแต่ละด้านมาจากแหล่งใด
5. เครื่องมืออุปกรณ์ : มีเครื่องมืออุปกรณ์ที่จำเป็นพอเพียงต่อการผลิตหรือไม่
6. สิ่งอำนวยความสะดวก : มีอยู่แล้วหรือสามารถจะจัดหาอย่างไร
7. เวลา : มีเวลาพอสำหรับการออกแบบหรือไม่
....การใช้สื่อในการเรียนการสอน....
....หลักในการใช้สื่อการสอน ครูควรพิจารณาถึงความเหมาะสมของสื่อการสอนแต่ละชนิดดังนี้
..1. ความเหมาะสม : สื่อที่ใช้เหมาะสมกับเนื้อหาและวัตถุประสงค์ของการสอนหรือไม่
..2. ความถูกต้อง : สื่อทีใช้ช่วยให้นักเรียนได้ข้อสรุปที่ถูกต้องหรือไม่
..3. ความเข้าใจ : สื่อที่ใช้ควรช่วยให้นักเรียนรู้จักคิดอย่างมีเหตุผลและให้ข้อมูลที่ถุกต้องแก่นักเรียน
..4. ประสบการณ์ที่ได้รับ : สื่อที่ใช้นั้นช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์ให้แก่นักเรียนหรือไม่
..5. เหมาะสมกับวัย : ระดับความยากง่ายของเนื้อหาที่บรรจุอยู่ในสื่อชนิดนั้น ๆ เหมาะสมกับระดับ
ความสามารถ ความสนใจ และความต้องการของนักเรียนหรือไม่
..6. เที่ยงตรงในเนื้อหา : สื่อนั้นช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้เนื้อหาที่ถูกต้องหรือไม่
..7. ใช้การได้ดี : สื่อที่นำมาใช้ควรทำให้เกิดประสิทธิภาพในการเรียนรู้ได้ดี
..8. คุ้มค่ากับราคา : ผลที่ได้จะคุ้มค่ากับเวลา เงิน และการจัดเตรียมสื่อนั้นหรือไม่
..9. ตรงกับความต้องการ : สื่อนั้นช่วยให้นักเรียนร่วมกิจกรรมตามที่ครูต้องการหรือไม่
..10. ช่วยเวลาความสนใจ : สื่อนั้นช่วยกระตุ้นให้นักเรียนสนใจในช่วงเวลานานพอสมควรหรือไม่
....การวัดและประเมินผลสื่อการเรียนการสอน....
....หลังจากที่เราออกแบบสื่อแล้วแล้วนำมาใช้ในกระบวนการเรียนการสอน ก็ควรมีการวัดผลของสื่อ เป็นการวัดประสิทธิภาพของสื่อ ความคุ้มค่าของสื่อต่อผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ วัดเพื่อปรับปรุงสื่อ วัดผลถึงระยะเวลาที่ในการนำเสนอสื่อว่าพอเหมาะหรือมากเกินความจำเป็น การวัดผลสื่อนี้เพื่อผลในการใช้ดัดแปลงปรับปรุงให้ดีขึ้นสำหรับการนำไปใช้ในอนาคต เราสามารถที่จะนำเอาผลการอภิปรายในชั้นเรียน การสัมภาษณ์ และการสังเกตผู้เรียนมาใช้เป็นแนวทางในการวัดผลสื่อได้
....เครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลสื่อการเรียนการสอนมีหลายรูปแบบ ผู้กระทำการวัดและประเมินผลอาจเลือกใช้ตามความเหมาะสม ที่นิยมกันมากได้แก่ แบบทดสอบ แบบสังเกต แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) เป็นต้น
....การวัดและการประเมินผลสื่อการเรียนการสอนมีขั้นตอนการตรวจสอบที่พิถีพิถันเพื่อให้ได้สื่อที่มีคุณภาพอย่างแท้จริง การตรวจสอบแบ่งได้ดังนี้
..ขั้น 1 การตรวจสอบโครงสร้างภายในสื่อ (Structural basis)
....1. ลักษณะสื่อ....
..1.1 ลักษณะเฉพาะตามประเภทของสื่อ
..1.2 มาตรฐานการออกแบบ (Design Standards)
..1.3 มาตรฐานทางเทคนิควิธี (Technical Standards)
..1.4 มาตรฐานความงาม(Aesthetic standards)
....2. เนื้อหาสาระ....
..ขั้น 2 การตรวจสอบคุณภาพสื่อ (Qualilative basis) โดยปกติจะดำเนินการโดยการทดลองใช้สื่อกับตัวแทนกลุ่มเป้าหมายในสภาพการณ์จริงปกติ ซึ่งแบ่งการดำเนินการออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ
..1) การทดสอบหนึ่งต่อหนึ่ง
..2) การทดสอบกลุ่มเล็ก
..3) การทดสอบกลุ่มใหญ่
....ชอร์ส กล่าวว่า เครื่องมือที่ช่วยสื่อความหมายจัดขึ้นโดยครูและนักเรียน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เครื่องมือการสอนทุกชนิดจัดเป็นสื่อการสอน เช่น หนังสือในห้องสมุด โสตทัศนวัสดุต่าง ๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ สไลด์ ฟิล์มสตริป รูปภาพ แผนที่ ของจริง และทรัพยากรจากแหล่งชุมชน
....บราวน์ และคณะ กล่าวว่า จำพวกอุปกรณ์ทั้งหลายที่สามารถช่วยเสนอความรู้ให้แก่ผู้เรียนจนเกิดผลการเรียนที่ดี ทั้งนี้รวมถึง กิจกรรมต่าง ๆ ที่ไม่เฉพาะแต่สิ่งที่เป็นวัตถุหรือเครื่องมือเท่านั้น เช่น การศึกษานอกสถานที่ การแสดง บทบาทนาฏการ การสาธิต การทดลอง ตลอดจนการสัมภาษณ์และการสำรวจ เป็นต้น
....เปรื่อง กุมุท กล่าวว่า สื่อการสอน หมายถึงสิ่งต่าง ๆ ที่ใช้เป็นเครื่องมือหรือช่องทางสำหรับทำให้การสอนของครูถึงผู้เรียนและทำให้ผู้เรียนเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายที่ครูวางไว้ได้เป็นอย่างดี
....ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ให้ความหมาย สื่อการสอนว่า วัสดุอุปกรณ์และวิธีการประกอบการสอนเพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการสื่อความหมายที่ผู้สอนประสงค์จะส่ง หรือถ่ายทอดไปยังผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
....ดังนั้น สรุปได้ว่า สื่อการสอน หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ ซึ่งถูกนำมาใช้ในการการเรียนการสอน เพื่อเป็นตัวกลางในการนำส่งหรือถ่ายทอดความรู้ ทักษะ และเจตคติ จากผู้สอนหรือแหล่งความรู้ไปยังผู้เรียน ช่วยให้การเรียนการสอนดำเนินไปอย่างสะดวกและมีประสิทธิภาพ และทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอนที่ตั้งไว้
....ประโยชน์ของสื่อการเรียนการสอน....
....นักการศึกษาได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของสื่อการสอนไว้หลากหลาย เมื่อพิจารณาเกี่ยวกับประโยชน์หรือคุณค่าของสื่อการสอนออกโดยแบ่งออกเป็น 2 ด้าน ดังต่อไปนี้
....1. ประโยชน์ของสื่อการสอนที่มีต่อผู้เรียน....
- ช่วยกระตุ้นและเร้าความสนใจของผู้เรียน
- ช่วยให้การเรียนรู้ของผู้เรียนเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ สะดวก และรวดเร็ว
- ช่วยแก้ปัญหาเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลในบริบทของการเรียนรู้
- ช่วยให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน และระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
- ช่วยให้สามารถนำเนื้อหาที่มีข้อจำกัดมาสอนในชั้นเรียนได้
- ช่วยให้ผู้เรียนเรียนอย่างกระตือรือร้นและมีส่วนร่วมกับการเรียน
- ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างเพลิดเพลิน สนุกสนาน และไม่เบื่อหน่ายต่อการเรียน
....2. ประโยชน์ของสื่อการสอนที่มีต่อผู้สอน....
- ช่วยแบ่งเบาภาระของผู้สอนในด้านการเตรียมการสอนหรือเนื้อหาการสอน
- ช่วยสร้างบรรยากาศในการสอนให้น่าสนใจ
- ช่วยสร้างความมั่นใจในการสอนให้แก่ผู้สอน
- กระตุ้นให้ผู้สอนตื่นตัวอยู่เสมอ
....ประเภทของสื่อการสอน....
....เอ็ดการ์ เดล ได้แบ่งประเภทของสื่อการสอนออกเป็น 11 กลุ่ม ตามระดับการมีส่วนร่วมของผู้เรียน หรือระดับประสบการณ์ที่ผู้เรียนจะได้รับดังนี้
..1. ประสบการณ์ตรง (Direct or Purposeful Experiences)
ตัวอย่างเช่น การทดลองผสมสารเคมี การฝึกหัดทำอาหาร การฝึกหัดตัดเย็บเสื้อผ้า เป็นต้น..2. ประสบการณ์จำลอง (Contrived experiences)
ตัวอย่างเช่น การฝึกหัดผ่าตัดตาด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การฝึกหัดขับเครื่องบินด้วยเครื่อง Flight Simulator เป็นต้น..3. ประสบการณ์นาฏการหรือการแสดง (Dramatized Experience)
ตัวอย่างเช่น การแสดงบทบาทสมมติ หรือการแสดงละคร
..4. การสาธิต (Demonstration)
ตัวอย่างเช่น การสาธิตการอาบน้ำเด็กแรกเกิด การสาธิตการแกะสลักผลไม้ เป็นต้น..5. การศึกษานอกสถานที่ (Field Trip)
ตัวอย่างเช่น การท่องเที่ยว หรือการเยี่ยมชมสถานที่ต่าง ๆ มีการจดบันทึกสิ่งที่พบตลอดจนสัมภาษณ์บุคคลที่ดูแลสถานที่เยี่ยมชม..6. นิทรรศการ (Exhibits)
ตัวอย่างเช่น นิทรรศการ หรือการจัดป้ายนิเทศ
..7. โทรทัศน์ (Television)
ตัวอย่างเช่น เทปวีดิทัศน์ หรือเป็นรายการสด
..8. ภาพยนตร์ (Motion Picture)
ตัวอย่างเช่น ภาพยนตร์ที่มีลักษณะเป็นภาพเคลื่อนไหว มีเสียงประกอบ และได้บันทึกลงไว้ในแผ่นฟิล์ม..9. ภาพนิ่ง วิทยุ และแผ่นเสียง (Recording, Radio, and Still Picture)
ตัวอย่างเช่น สื่อภาพนิ่งซึ่งอาจเป็นรูปภาพ สไลด์ หรือภาพวาด ภาพล้อ หรือภาพเหมือนจริง..10. ทศนสัญลักษณ์ (Visual Symbols)
ตัวอย่างเช่น พวกวัสดุกราฟิกทุกประเภท เช่น แผนที่ แผนภูมิ แผนสถิติ แผนภาพ การ์ตูนเรื่อง หรือสัญลักษณ์รูปแบบต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในการสื่อความหมาย
..11. วจนสัญลักษณ์ (Verbal Symbols)
ตัวอย่างเช่น รูปแบบของคำพูด คำบรรยาย ตัวหนังสือ ตัวเลข หรือสัญลักษณ์พิเศษต่างๆ ที่ใช้ในภาษาการเขียน
....การออกแบบสื่อการสอน....
....สื่อการสอน คือ การนำสื่อมาใช้ในการเรียนการสอน ซึ่งเป็นการนำวัสดุ เครื่องมือและวิธีการมาประกอบในการถ่ายทอดความรู้และเนื้อหาไปยังผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ในสิ่งที่ครูได้ถ่ายทอด รวมไปถึงมีความเข้าใจตรงตามเนื้อหา นอกจากนี้ยังช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ง่ายยิ่งขึ้น และช่วยประหยัดเวลา
....ลักษณะการออกแบบที่ดี (Characteristics of Good Design) มีลักษณะดังต่อไปนี้
..1.ควรเป็นการออกแบบที่เหมาะสมกับความมุ่งหมายของการนำไปใช้
..2. ควรเป็นการออกแบบที่มีลักษณะง่ายต่อการมำความเข้าใจ การนำไปใช้งานและกระบวนการผลิต
..3. ควรมีสัดส่วนที่ดีและเหมาะสมตามสภาพการใช้งานของสื่อ
..4. ควรมีความกลมกลืนของส่วนประกอบ ตลอดจนสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมของการใช้และการผลิตสื่อชนิดนั้น
....องค์ประกอบของการออกแบบมีดังต่อไปนี้
..1. จุด ( Dots )
..2. เส้น ( Line )
..3. รูปร่าง รูปทรง ( Shape- Form )
..4. ปริมาตร ( Volume )
..5. ลักษณะพื้นผิว ( Texture )
..6. บริเวณว่าง ( Space )
..7. สี ( Color )
..8. น้ำหนักสื่อ ( Value )
....การออกแบบผลิตสื่อใหม่ ควรคำนึงถึงดังนี้
1. จุดมุ่งหมาย : ต้องพิจารณาว่าต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนอะไร
2. ผู้เรียน : ควรได้พิจารณาผู้เรียนทั้งโดยรวมว่าเป็นใคร มีความรู้พื้นฐานและทักษะอะไรมาก่อน
3. ค่าใช้จ่าย : มีงบประมาณเพียงพอหรือไม่
4. ความเชี่ยวชาญด้านเทคนิค : ถ้าตนเองไม่มีทักษะจะหาผู้เชี่ยวชาญแต่ละด้านมาจากแหล่งใด
5. เครื่องมืออุปกรณ์ : มีเครื่องมืออุปกรณ์ที่จำเป็นพอเพียงต่อการผลิตหรือไม่
6. สิ่งอำนวยความสะดวก : มีอยู่แล้วหรือสามารถจะจัดหาอย่างไร
7. เวลา : มีเวลาพอสำหรับการออกแบบหรือไม่
....การใช้สื่อในการเรียนการสอน....
....หลักในการใช้สื่อการสอน ครูควรพิจารณาถึงความเหมาะสมของสื่อการสอนแต่ละชนิดดังนี้
..1. ความเหมาะสม : สื่อที่ใช้เหมาะสมกับเนื้อหาและวัตถุประสงค์ของการสอนหรือไม่
..2. ความถูกต้อง : สื่อทีใช้ช่วยให้นักเรียนได้ข้อสรุปที่ถูกต้องหรือไม่
..3. ความเข้าใจ : สื่อที่ใช้ควรช่วยให้นักเรียนรู้จักคิดอย่างมีเหตุผลและให้ข้อมูลที่ถุกต้องแก่นักเรียน
..4. ประสบการณ์ที่ได้รับ : สื่อที่ใช้นั้นช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์ให้แก่นักเรียนหรือไม่
..5. เหมาะสมกับวัย : ระดับความยากง่ายของเนื้อหาที่บรรจุอยู่ในสื่อชนิดนั้น ๆ เหมาะสมกับระดับ
ความสามารถ ความสนใจ และความต้องการของนักเรียนหรือไม่
..6. เที่ยงตรงในเนื้อหา : สื่อนั้นช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้เนื้อหาที่ถูกต้องหรือไม่
..7. ใช้การได้ดี : สื่อที่นำมาใช้ควรทำให้เกิดประสิทธิภาพในการเรียนรู้ได้ดี
..8. คุ้มค่ากับราคา : ผลที่ได้จะคุ้มค่ากับเวลา เงิน และการจัดเตรียมสื่อนั้นหรือไม่
..9. ตรงกับความต้องการ : สื่อนั้นช่วยให้นักเรียนร่วมกิจกรรมตามที่ครูต้องการหรือไม่
..10. ช่วยเวลาความสนใจ : สื่อนั้นช่วยกระตุ้นให้นักเรียนสนใจในช่วงเวลานานพอสมควรหรือไม่
....การวัดและประเมินผลสื่อการเรียนการสอน....
....หลังจากที่เราออกแบบสื่อแล้วแล้วนำมาใช้ในกระบวนการเรียนการสอน ก็ควรมีการวัดผลของสื่อ เป็นการวัดประสิทธิภาพของสื่อ ความคุ้มค่าของสื่อต่อผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ วัดเพื่อปรับปรุงสื่อ วัดผลถึงระยะเวลาที่ในการนำเสนอสื่อว่าพอเหมาะหรือมากเกินความจำเป็น การวัดผลสื่อนี้เพื่อผลในการใช้ดัดแปลงปรับปรุงให้ดีขึ้นสำหรับการนำไปใช้ในอนาคต เราสามารถที่จะนำเอาผลการอภิปรายในชั้นเรียน การสัมภาษณ์ และการสังเกตผู้เรียนมาใช้เป็นแนวทางในการวัดผลสื่อได้
....เครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลสื่อการเรียนการสอนมีหลายรูปแบบ ผู้กระทำการวัดและประเมินผลอาจเลือกใช้ตามความเหมาะสม ที่นิยมกันมากได้แก่ แบบทดสอบ แบบสังเกต แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) เป็นต้น
....การวัดและการประเมินผลสื่อการเรียนการสอนมีขั้นตอนการตรวจสอบที่พิถีพิถันเพื่อให้ได้สื่อที่มีคุณภาพอย่างแท้จริง การตรวจสอบแบ่งได้ดังนี้
..ขั้น 1 การตรวจสอบโครงสร้างภายในสื่อ (Structural basis)
....1. ลักษณะสื่อ....
..1.1 ลักษณะเฉพาะตามประเภทของสื่อ
..1.2 มาตรฐานการออกแบบ (Design Standards)
..1.3 มาตรฐานทางเทคนิควิธี (Technical Standards)
..1.4 มาตรฐานความงาม(Aesthetic standards)
....2. เนื้อหาสาระ....
..ขั้น 2 การตรวจสอบคุณภาพสื่อ (Qualilative basis) โดยปกติจะดำเนินการโดยการทดลองใช้สื่อกับตัวแทนกลุ่มเป้าหมายในสภาพการณ์จริงปกติ ซึ่งแบ่งการดำเนินการออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ
..1) การทดสอบหนึ่งต่อหนึ่ง
..2) การทดสอบกลุ่มเล็ก
..3) การทดสอบกลุ่มใหญ่
วันพฤหัสบดีที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2550
2.การออกแบบสื่อวัสดุกราฟิก
....หลักการออกแบบ (powerpoint)........สื่อวัสดุกราฟิก......" กราฟิก " (Graphic) เป็นคำมาจากภาษากรีกว่า Graphikos หมายถึงการเขียนภาพด้วยสีและเขียนภาพขาวดำและคำว่า " Graphein " มีความหมายทั้งการเขียนด้วยตัวหนังสือและการสื่อความหมายโดยการใช้เส้น ....เมื่อรวมทั้งคำ Graphikos และ Graphein เข้าด้วยกัน..วัสดุกราฟิกหมายถึงวัสดุใด ๆ ซึ่งแสดงความจริง แสดงความคิดอย่างชัดเจน โดยใช้ภาพวาด ภาพเขียน และอักษรข้อความรวมกัน....ในหนังสือ Audiovisual Materials ซึ่งเขียนโดย Wittich & Schuller ได้แบ่งประเภทวัสดุกราฟิกไว้ดังนี้1. แผนสถิติ (Graphs) แบ่งออกเป็น...1.1 แผนสถิติแบบเส้น (Line Graphs)...1.2 แผนสถิติแบบแท่ง (Bar Graphs)...1.3 แผนสถิติแบบวงกลม (Circle or Pie Graphs)...1.4 แผนสถิติแบบรูปภาพ (Pictorial Graphs)...1.5 แผนสถิติแบบพื้นที่ (Area and Solid Figure Graphs)2. แผนภาพ (Diagrams)3. แผนภูมิ (Charts)...3.1 แผนภูมิแบบต้นไม้ (Tree Charts)...3.2 แผนภูมิแบบสายน้ำ (Stream Charts)...3.3 แผนภูมิแบบองค์การ (Organization Charts)...3.4 แผนภูมิแบบต่อเนื่อง (Flow Charts)...3.5 แผนภูมิแบบเปรียบเทียบ (Comparision Charts)...3.6 แผนภูมิแบบตาราง (Tabular Charts)...3.7 แผนภูมิแบบวิวัฒนาการ (Experience Charts)...3.8 แผนภูมิแบบอธิบายภาพ (Achivement Charts)4. ภาพโฆษณา (Posters)5. การ์ตูน (Cartoon) 6. ภาพวาด (Drawing)7. ภาพถ่าย (Photography) 8. ภาพพิมพ์ (Printing)9. สัญลักษณ์ (Symbols)
ตัวอย่างสื่อวัสดุกราฟิก 5 ชิ้น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
+++ผญา (ปรัชญา)+++
.....ผญา (ปรัชญา)
..........คนอีสานมีคำคม สุภาษิตสำหรับสั่งสอนลูกหลานให้ประพฤติตนอยู่ในฮีตคอง (จารีต- ประเพณี) ไม่ออกนอกลู่นอกทาง คำคมเหล่านี้รู้จักกันทั่วไป ในชื่อ "ผญา" หมายถึง ปัญญา, ปรัชญา, ความฉลาด, คำภาษิตที่มีความหมายลึกซึ้ง (wisdom, philosophy, maxim, aphorism.)
...ผะหยา หรือ ผญา เป็นคำภาษาอีสาน สันนิษฐานกันว่าน่าจะมาจากคำว่า ปรัชญา เพราะภาษาอีสานออกเสียงควบ "ปร" ไปเป็น ผ เช่น คำว่า เปรต เป็น เผต โปรด เป็น โผด หมากปราง เป็น หมากผาง ดังนั้นคำว่า ปรัชญา อาจมาเป็น ผัชญา แล้วเป็น ผญา อีกต่อหนึ่ง
ปัญญา ปรัชญา หรือผญา เป็นกลุ่มภาษาเดียวกัน มีความหมายคล้ายคลึงกัน ใกล้ เคียงกันหรือบางครั้งใช้แทนกันได้ ซึ่งหมายถึง ปัญญา ความรู้ ไหวพริบ สติปัญญา ความเฉลียว ฉลาดปราชญ์เปรื่อง หรือบางท่านบอกว่า ผญา มาจากปัญญา โดยเอา ป เป็น ผ เหมือนกับ เปรต เป็น เผด โปรด เป็น โผด เป็นต้น ผญาเป็นลักษณะแห่งความคิดที่แสดงออกมาทางคำพูด ซึ่งอาจ จะมีสัมผัสหรือไม่ก็ได้
ผญา คือ คำคม สุภาษิต หรือคำพูดที่เป็นปริศนา คือฟังแล้วต้องนำมาคิด มาวิเคราะห์ เพื่อค้นหาคำตอบที่เป็นจริงและชัดเจนว่า หมายถึงอะไร
ผญา เป็นคำพูดที่คล้องจองกัน ซึ่งไม่จำเป็นจะต้องมีสัมผัสเสมอไป แต่เวลาพูดจะ ไพเราะสละสลวย และในการพูดนั้นจะขึ้นอยู่กับจังหวะหนักเบาด้วย
ผญา เป็นการพูดที่ต้องใช้ไหวพริบ สติปัญญา มีเชาวน์ มีอารมณ์คมคาย พูดสั้นแต่กิน ใจความมาก
...การจ่ายผญา หรือการแก้ผญา
การจ่ายผญา แก้ผญา เว้าผญา หรือพูดผญา คือการตอบคำถาม ซึ่งมึผู้ถามมาแล้ว ก็ตอบไป เป็นการพูดธรรมดา ไม่มีการเอื้อนเสียง ไม่มีทำนอง แต่เป็นจังหวะ มีวรรคตอนเท่านั้น ผู้ถามส่วนใหญ่จะเป็นหมอลำฝ่ายชาย คือลำเป็นคำถาม ฝ่ายหญิงจะเป็นฝ่ายตอบ หรือจ่ายผญา ด้วยเหตุนี้จึงมักจะเรียกว่า ลำผญา หรือลำผญาญ่อย เช่น
(ชาย) ..... อ้ายนี้อยากถามข่าวน้ำ ถามข่าวถึงปลา อยากถามข่าวนา ถามข่าวถึงเข้า (ข้าว) อ้ายอยากถามข่าวน้อง ว่ามีผัวแล้วหรือบ่ หรือว่ามีแต่ชู้ ผัวสิซ้อนหากบ่มี
(หญิง) ..... น้องนี้ปอดอ้อยซ้อยเสมอดังตองตัด พัดแต่เป็นหญิงมา บ่มีชายสิมาเกี้ยว พัดแต่สอนลอนขึ้น บ่มีเครือสิเกี้ยวพุ่ม พัดแต่เป็นพุ่มไม้เครือสิเกี้ยวกะบ่มี
หมอผญาที่ควรกล่าวถึงในที่นี้ คือ แม่ดา ซามงค์ แม่สำอางค์ อุณวงศ์ แม่เป๋อ พลเพ็ง แม่บุญเหลื่อม พลเพ็ง แห่งบ้านดอนตาล อำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร เป็นต้น
การลำและจ่ายผญา ในสมัยโบราณนั้นจะนั่งกับพื้น คือ หมอลำ หมอผญาและหมอแคน จะนั่งเป็นวง ส่วนผู้ฟังอื่น ๆ ก็นั่งเป็นวงล้อมรอบ หมอลำบางครั้งจะมีการฟ้อนด้วย ส่วนผู้จ่ายผญา จะไม่มีการฟ้อน ในบางครั้งจะทำงานไปด้วยแก้ผญาไปด้วย เช่น เวลาลงข่วง หมอลำชายจะลำ เกี้ยว ฝ่ายหญิงจะเข็นฝ้ายไปแก้ผญาไป นอกจากหมอลำ หมอแคนแล้ว บางครั้งจะมีหมอสอยทำ การสอยสอดแทรกเป็นจังหวะไป ทำให้ผู้ฟังได้รับความสนุกสนาน การจ่ายผญาในครั้งแรก ๆ นั้น เป็นการพูดธรรมดา ไม่มีการเอื้อนเสียงยาว และนั่งพูดจ่ายตามธรรมดา ต่อมาได้มีการดัดแปลง ให้มีการเอื้อนเสียงยาว มีจังหวะและสัมผัสนอกสัมผัสในด้วย ทำให้เกิดความไพเราะ และมีการเป่า แคนประกอบจนกลายมาเป็น "หมอลำผญา" ซึ่งพึ่งมีขึ้นประมาณ 30-40 ปีมานี้
..........เมื่อกาลเวลาเปลี่ยนไปการพัฒนาของการจ่ายผญาจึงมีมากขึ้น จากการนั่งจ่ายผญา ซึ่งมองกันว่าไม่ค่อยถนัดและไม่ถึงอกถึงใจผู้ฟัง (ด้วยขาดการแสดงออกด้านท่าทางประกอบ) จึงมีการเปลี่ยนมาเป็นยืนลำ ทำให้มีการฟ้อนประกอบไปด้วย จากดนตรีประกอบที่มีเพียง แคน ก็ได้นำเอากลอง ฉิ่ง ฉาบ และดนตรีอื่น ๆ เข้ามาประกอบ จากผู้แสดงเพียง 2 คนก็ค่อย ๆ เพิ่มเป็น 3, 4 และ 5 คน จนมารวมกันเป็นคณะ เรียกว่า คณะหมอลำผญา บางคณะได้มีหางเครื่องเข้ามา ประกอบด้วย
...ความทวย (ปริศนาคำทาย)
ความทวย ในภาษาอีสาน จะมีความหมายตรงกับ ปริศนาคำทาย ในภาษากลาง เป็นวิธีการสอนลูกหลานให้มีความคิด เชาว์ปัญญา ไหวพริบปฏิภาณเฉียบแหลม ประกอบกับการเล่านิทานที่มีคติสอนใจ ในสมัยก่อนนั้น คนบ้านนอกในภาคอีสานยังไม่มีวิทยุ โทรทัศน์ สิ่งบันเทิงที่พอมีคือการเล่านิทานชาดกของคนเฒ่าคนแก่ในหมู่บ้าน ในขณะที่คนแก่ก็จะได้ความสุขใจมาจากการฟังเทศน์ฟังธรรมจากวัด
ช่วงเย็นหลังอาหารค่ำก็จะเป็นช่วงเวลาของเด็กๆ หนุ่มสาว จะได้ฟังนิทานชาดก นิทานพื้นบ้านกัน หลังการเล่านิทานก็จะมีการถามปัญหา หรือ ความทวย ผู้ใดสามารถตอบได้ก็จะได้รับรางวัลเป็นผลไม้ กล้วย อ้อย ตามฤดูกาล ตัวอย่างความทวย เช่น
...ความทวย สุกอยู่ดิน กากินบ่ได้ สุกอยู่ฟ้า กายื้อบ่เถิง ไผว่าแม่นหยัง?...
ความแก้ ลูกหลานก็จะคิดหาความแก้ ถ้าใครแก้ได้ท่านก็ให้รางวัลดังกล่าว แล้วความแก้หรือคำตอบนี้ก็คือ "ดวงตะวัน" และ "กองไฟ"
**ประเภทของผญา - สุภาษิต - ความทวย**
1. ผญาคำสอน
2. ผญาปริศนา
3. ผญาภาษิตสะกิดใจ
4. ผญาเกี้ยวพาราสีทั่วไป
5. ผญาเกี้ยวพาราสีโต้ตอบหนุ่มสาว
6. หมวดภาษิตคำเปรียบเปรยต่างๆ
7. ผญาปัญหาภาษิต
8. ความทวย
9. ภาษิตโบราณอีสาน
10. คำกลอนโบราณอีสาน
11. วรรณกรรมคำสอย (ตอนที่ 1)
12. วรรณกรรมคำสอย (ตอนที่ 2)
...การนับจอกเหล้า...
...การนับจอกเหล้าแบบที่ 1
-จอกหนึ่งพอชิกริก ( จอกแรกซู่ซ่า )
-จอกสองพอแซกแรก ( จอกสองเอามาอีก )
-จอกสามพอแปลกความ ( จอกสามเริ่มเสียงดัง )
-จอกสี่หลงพี่หลงน้อง ( จอกสี่ลืมพี่ลืมน้อง )
-จอกห้าเห็นป้าว่าแม่นเมีย ( จอกห้าเห็นป้านึกว่าเมีย )
-จอกหกชกปากพ่อเถ้า ( จอกหกชกปากพ่อตา )
-จอกเจ็ดแกล้มเป็ดแกล้มไก่ ( จอกเจ็ดหาเป็ดหาไก่มาแกล้ม )
-จอกแปดฟ้อนตากแดดว่าแม่นฝนตกริน ( จอกแปดรำกลางแดดนึกว่าฝน )
-จอกเก้าเข้าอยู่เล้าคึดอยากขายเกวียนละบาทก็ขาย ( จอกเก้าขายข้าวเกวียนละบาท )
-จอกสิบหลิบพุ้นหลิบพี้ ( จอกสิบเดินหน้าหนึ่งถอยหลังสาม )
-จอกสิบเอ็ดตึงลึงตึง ( จอกสิบเอ็ดยืนโงนเงนจนล้ม ครอกฟี้! )
...การนับจอกเหล้าแบบที่ 2
-จอกหนึ่งเอ็นคอพึงบ่ทันปาก ( จอกที่หนึ่งรินไม่ทัน )
-จอกสองเสียงกระชากผิดสำนวน ( จอกสองเสียงดังลั่นบ้าน )
-จอกสามชวนพ่อเถ้าเป็นสหาย ( จอกสามกอดคอพ่อตาเป็นสหาย )
-จอกสี่ชวนนายลงเป็นมิตร ( จอกสี่ดึงแขนนายให้เป็นเพื่อน )
-จอกห้าคิดอยากด่าเมียตน ( จอกห้าด่าเมียขโมง )
-จอกหกเห็นคนมาฮ้องใส่ ( จอกหกแกว่งปากหาตีน )
-จอกเจ็ดเหลียวเห็นไก่ว่าแม่นหมู ( จอกเจ็ดเห็นหนูเป็นแมว )
-จอกแปดใบหูแดงหน้าเคร่ง ( จอกแปดหูแดงหน้าตึง )
-จอกเก้าเปล่งวาจาผู้ใดมาบ่ย้าน ( จอกเก้าเสียงดังไม่กลัวใคร )
-จอกสิบอ่าน กอ ขอ กอ กา นอนกับหมาเกือขี้ฝุ่น จักว่าอุ่นบ่อุ่นตากแดดจนสาย พิษสุรามันหายเหื่อไคลไหลย้าว ( จอกสิบมีหมาเป็นเพื่อน อ๊วก! )
การนับจอกเหล้าแบบที่ 3
-จอกหนึ่งพุทธวาจา ( จอกหนึ่งเสียงหวาน )
-จอกสองหมากลางตลาด ( จอกสองหมากลางตลาด )
-จอกสามผ้าขาดบ่ฮู้จักตัว ( จอกสามผ้าขาด หลุด ไม่รู้ตัว )
-จอกสี่เห็นเจ้าหัวว่าแม่นจัวน้อย ( จอกสี่เห็นสมภารนึกว่าเณรน้อย )
-จอกห้าเห็นเห็นขี้ข้อยว่าแม่นเมียโต ( จอกห้าเห็นนางแจ๋วนึกว่าเมีย )
-จอกหกสายพังพานเพิ่นบ่พานโตพาน ( จอกหกนักเลงโต อยากหาเรื่อง )
..........คนอีสานมีคำคม สุภาษิตสำหรับสั่งสอนลูกหลานให้ประพฤติตนอยู่ในฮีตคอง (จารีต- ประเพณี) ไม่ออกนอกลู่นอกทาง คำคมเหล่านี้รู้จักกันทั่วไป ในชื่อ "ผญา" หมายถึง ปัญญา, ปรัชญา, ความฉลาด, คำภาษิตที่มีความหมายลึกซึ้ง (wisdom, philosophy, maxim, aphorism.)
...ผะหยา หรือ ผญา เป็นคำภาษาอีสาน สันนิษฐานกันว่าน่าจะมาจากคำว่า ปรัชญา เพราะภาษาอีสานออกเสียงควบ "ปร" ไปเป็น ผ เช่น คำว่า เปรต เป็น เผต โปรด เป็น โผด หมากปราง เป็น หมากผาง ดังนั้นคำว่า ปรัชญา อาจมาเป็น ผัชญา แล้วเป็น ผญา อีกต่อหนึ่ง
ปัญญา ปรัชญา หรือผญา เป็นกลุ่มภาษาเดียวกัน มีความหมายคล้ายคลึงกัน ใกล้ เคียงกันหรือบางครั้งใช้แทนกันได้ ซึ่งหมายถึง ปัญญา ความรู้ ไหวพริบ สติปัญญา ความเฉลียว ฉลาดปราชญ์เปรื่อง หรือบางท่านบอกว่า ผญา มาจากปัญญา โดยเอา ป เป็น ผ เหมือนกับ เปรต เป็น เผด โปรด เป็น โผด เป็นต้น ผญาเป็นลักษณะแห่งความคิดที่แสดงออกมาทางคำพูด ซึ่งอาจ จะมีสัมผัสหรือไม่ก็ได้
ผญา คือ คำคม สุภาษิต หรือคำพูดที่เป็นปริศนา คือฟังแล้วต้องนำมาคิด มาวิเคราะห์ เพื่อค้นหาคำตอบที่เป็นจริงและชัดเจนว่า หมายถึงอะไร
ผญา เป็นคำพูดที่คล้องจองกัน ซึ่งไม่จำเป็นจะต้องมีสัมผัสเสมอไป แต่เวลาพูดจะ ไพเราะสละสลวย และในการพูดนั้นจะขึ้นอยู่กับจังหวะหนักเบาด้วย
ผญา เป็นการพูดที่ต้องใช้ไหวพริบ สติปัญญา มีเชาวน์ มีอารมณ์คมคาย พูดสั้นแต่กิน ใจความมาก
...การจ่ายผญา หรือการแก้ผญา
การจ่ายผญา แก้ผญา เว้าผญา หรือพูดผญา คือการตอบคำถาม ซึ่งมึผู้ถามมาแล้ว ก็ตอบไป เป็นการพูดธรรมดา ไม่มีการเอื้อนเสียง ไม่มีทำนอง แต่เป็นจังหวะ มีวรรคตอนเท่านั้น ผู้ถามส่วนใหญ่จะเป็นหมอลำฝ่ายชาย คือลำเป็นคำถาม ฝ่ายหญิงจะเป็นฝ่ายตอบ หรือจ่ายผญา ด้วยเหตุนี้จึงมักจะเรียกว่า ลำผญา หรือลำผญาญ่อย เช่น
(ชาย) ..... อ้ายนี้อยากถามข่าวน้ำ ถามข่าวถึงปลา อยากถามข่าวนา ถามข่าวถึงเข้า (ข้าว) อ้ายอยากถามข่าวน้อง ว่ามีผัวแล้วหรือบ่ หรือว่ามีแต่ชู้ ผัวสิซ้อนหากบ่มี
(หญิง) ..... น้องนี้ปอดอ้อยซ้อยเสมอดังตองตัด พัดแต่เป็นหญิงมา บ่มีชายสิมาเกี้ยว พัดแต่สอนลอนขึ้น บ่มีเครือสิเกี้ยวพุ่ม พัดแต่เป็นพุ่มไม้เครือสิเกี้ยวกะบ่มี
หมอผญาที่ควรกล่าวถึงในที่นี้ คือ แม่ดา ซามงค์ แม่สำอางค์ อุณวงศ์ แม่เป๋อ พลเพ็ง แม่บุญเหลื่อม พลเพ็ง แห่งบ้านดอนตาล อำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร เป็นต้น
การลำและจ่ายผญา ในสมัยโบราณนั้นจะนั่งกับพื้น คือ หมอลำ หมอผญาและหมอแคน จะนั่งเป็นวง ส่วนผู้ฟังอื่น ๆ ก็นั่งเป็นวงล้อมรอบ หมอลำบางครั้งจะมีการฟ้อนด้วย ส่วนผู้จ่ายผญา จะไม่มีการฟ้อน ในบางครั้งจะทำงานไปด้วยแก้ผญาไปด้วย เช่น เวลาลงข่วง หมอลำชายจะลำ เกี้ยว ฝ่ายหญิงจะเข็นฝ้ายไปแก้ผญาไป นอกจากหมอลำ หมอแคนแล้ว บางครั้งจะมีหมอสอยทำ การสอยสอดแทรกเป็นจังหวะไป ทำให้ผู้ฟังได้รับความสนุกสนาน การจ่ายผญาในครั้งแรก ๆ นั้น เป็นการพูดธรรมดา ไม่มีการเอื้อนเสียงยาว และนั่งพูดจ่ายตามธรรมดา ต่อมาได้มีการดัดแปลง ให้มีการเอื้อนเสียงยาว มีจังหวะและสัมผัสนอกสัมผัสในด้วย ทำให้เกิดความไพเราะ และมีการเป่า แคนประกอบจนกลายมาเป็น "หมอลำผญา" ซึ่งพึ่งมีขึ้นประมาณ 30-40 ปีมานี้
..........เมื่อกาลเวลาเปลี่ยนไปการพัฒนาของการจ่ายผญาจึงมีมากขึ้น จากการนั่งจ่ายผญา ซึ่งมองกันว่าไม่ค่อยถนัดและไม่ถึงอกถึงใจผู้ฟัง (ด้วยขาดการแสดงออกด้านท่าทางประกอบ) จึงมีการเปลี่ยนมาเป็นยืนลำ ทำให้มีการฟ้อนประกอบไปด้วย จากดนตรีประกอบที่มีเพียง แคน ก็ได้นำเอากลอง ฉิ่ง ฉาบ และดนตรีอื่น ๆ เข้ามาประกอบ จากผู้แสดงเพียง 2 คนก็ค่อย ๆ เพิ่มเป็น 3, 4 และ 5 คน จนมารวมกันเป็นคณะ เรียกว่า คณะหมอลำผญา บางคณะได้มีหางเครื่องเข้ามา ประกอบด้วย
...ความทวย (ปริศนาคำทาย)
ความทวย ในภาษาอีสาน จะมีความหมายตรงกับ ปริศนาคำทาย ในภาษากลาง เป็นวิธีการสอนลูกหลานให้มีความคิด เชาว์ปัญญา ไหวพริบปฏิภาณเฉียบแหลม ประกอบกับการเล่านิทานที่มีคติสอนใจ ในสมัยก่อนนั้น คนบ้านนอกในภาคอีสานยังไม่มีวิทยุ โทรทัศน์ สิ่งบันเทิงที่พอมีคือการเล่านิทานชาดกของคนเฒ่าคนแก่ในหมู่บ้าน ในขณะที่คนแก่ก็จะได้ความสุขใจมาจากการฟังเทศน์ฟังธรรมจากวัด
ช่วงเย็นหลังอาหารค่ำก็จะเป็นช่วงเวลาของเด็กๆ หนุ่มสาว จะได้ฟังนิทานชาดก นิทานพื้นบ้านกัน หลังการเล่านิทานก็จะมีการถามปัญหา หรือ ความทวย ผู้ใดสามารถตอบได้ก็จะได้รับรางวัลเป็นผลไม้ กล้วย อ้อย ตามฤดูกาล ตัวอย่างความทวย เช่น
...ความทวย สุกอยู่ดิน กากินบ่ได้ สุกอยู่ฟ้า กายื้อบ่เถิง ไผว่าแม่นหยัง?...
ความแก้ ลูกหลานก็จะคิดหาความแก้ ถ้าใครแก้ได้ท่านก็ให้รางวัลดังกล่าว แล้วความแก้หรือคำตอบนี้ก็คือ "ดวงตะวัน" และ "กองไฟ"
**ประเภทของผญา - สุภาษิต - ความทวย**
1. ผญาคำสอน
2. ผญาปริศนา
3. ผญาภาษิตสะกิดใจ
4. ผญาเกี้ยวพาราสีทั่วไป
5. ผญาเกี้ยวพาราสีโต้ตอบหนุ่มสาว
6. หมวดภาษิตคำเปรียบเปรยต่างๆ
7. ผญาปัญหาภาษิต
8. ความทวย
9. ภาษิตโบราณอีสาน
10. คำกลอนโบราณอีสาน
11. วรรณกรรมคำสอย (ตอนที่ 1)
12. วรรณกรรมคำสอย (ตอนที่ 2)
...การนับจอกเหล้า...
...การนับจอกเหล้าแบบที่ 1
-จอกหนึ่งพอชิกริก ( จอกแรกซู่ซ่า )
-จอกสองพอแซกแรก ( จอกสองเอามาอีก )
-จอกสามพอแปลกความ ( จอกสามเริ่มเสียงดัง )
-จอกสี่หลงพี่หลงน้อง ( จอกสี่ลืมพี่ลืมน้อง )
-จอกห้าเห็นป้าว่าแม่นเมีย ( จอกห้าเห็นป้านึกว่าเมีย )
-จอกหกชกปากพ่อเถ้า ( จอกหกชกปากพ่อตา )
-จอกเจ็ดแกล้มเป็ดแกล้มไก่ ( จอกเจ็ดหาเป็ดหาไก่มาแกล้ม )
-จอกแปดฟ้อนตากแดดว่าแม่นฝนตกริน ( จอกแปดรำกลางแดดนึกว่าฝน )
-จอกเก้าเข้าอยู่เล้าคึดอยากขายเกวียนละบาทก็ขาย ( จอกเก้าขายข้าวเกวียนละบาท )
-จอกสิบหลิบพุ้นหลิบพี้ ( จอกสิบเดินหน้าหนึ่งถอยหลังสาม )
-จอกสิบเอ็ดตึงลึงตึง ( จอกสิบเอ็ดยืนโงนเงนจนล้ม ครอกฟี้! )
...การนับจอกเหล้าแบบที่ 2
-จอกหนึ่งเอ็นคอพึงบ่ทันปาก ( จอกที่หนึ่งรินไม่ทัน )
-จอกสองเสียงกระชากผิดสำนวน ( จอกสองเสียงดังลั่นบ้าน )
-จอกสามชวนพ่อเถ้าเป็นสหาย ( จอกสามกอดคอพ่อตาเป็นสหาย )
-จอกสี่ชวนนายลงเป็นมิตร ( จอกสี่ดึงแขนนายให้เป็นเพื่อน )
-จอกห้าคิดอยากด่าเมียตน ( จอกห้าด่าเมียขโมง )
-จอกหกเห็นคนมาฮ้องใส่ ( จอกหกแกว่งปากหาตีน )
-จอกเจ็ดเหลียวเห็นไก่ว่าแม่นหมู ( จอกเจ็ดเห็นหนูเป็นแมว )
-จอกแปดใบหูแดงหน้าเคร่ง ( จอกแปดหูแดงหน้าตึง )
-จอกเก้าเปล่งวาจาผู้ใดมาบ่ย้าน ( จอกเก้าเสียงดังไม่กลัวใคร )
-จอกสิบอ่าน กอ ขอ กอ กา นอนกับหมาเกือขี้ฝุ่น จักว่าอุ่นบ่อุ่นตากแดดจนสาย พิษสุรามันหายเหื่อไคลไหลย้าว ( จอกสิบมีหมาเป็นเพื่อน อ๊วก! )
การนับจอกเหล้าแบบที่ 3
-จอกหนึ่งพุทธวาจา ( จอกหนึ่งเสียงหวาน )
-จอกสองหมากลางตลาด ( จอกสองหมากลางตลาด )
-จอกสามผ้าขาดบ่ฮู้จักตัว ( จอกสามผ้าขาด หลุด ไม่รู้ตัว )
-จอกสี่เห็นเจ้าหัวว่าแม่นจัวน้อย ( จอกสี่เห็นสมภารนึกว่าเณรน้อย )
-จอกห้าเห็นเห็นขี้ข้อยว่าแม่นเมียโต ( จอกห้าเห็นนางแจ๋วนึกว่าเมีย )
-จอกหกสายพังพานเพิ่นบ่พานโตพาน ( จอกหกนักเลงโต อยากหาเรื่อง )
สูตรสู่ความสำเร็จ
สูตรสู่ความสำเร็จ
> >ถ้า A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U >V W X Y Z > >มีค่าเท่ากับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 >22 23 24 25 26
> >แล้วจะพบว่า......
> >1) H+A+R+D+W+O+R+K = 8+1+18+4+23+15+18+11 = 98%
> > HARD WORK หรือ ทำงานหนัก มีค่าเท่ากับ 98 %
> >2) K+N+O+W+L+E+D+G+E = 11+14+15+23+12+5+4+7+5 = 96%
> > KNOWLEDGE หรือ ความรู้ มีค่าเท่ากับ 96 %
> >3) L+O+V+E=12+15+22+5 = 54%
> > LOVE หรือ ความรัก >มีค่าเท่ากับ 54 %
> >4) L+U+C+K = 12+21+3+11 = 47%
> > LUCK หรือ โชค >มีค่าเท่ากับ 47 %
> > > Q ; ไม่มีสิ่งใดที่มีค่า 100 % เลยหรือ !!! >แล้วสิ่งใดที่มีค่าเท่ากับ 100 %
> > - ใช่เงินหรือเปล่า ?……… .... .....ไม่ใช่ !!!!!
> > - ความเป็นผู้นำหรือเปล่า ?………ไม่ใช่ !!!!!
> > > Q ; แล้วอะไรล่ะ ? > > Ans. ; A+T+T+I+T+U+D+E = 1+20+20+9+20+21+4+5 = 100%
> > ATTITUDE หรือ ทัศนคติ นั่นเอง >ที่มีค่าเท่ากับ 100 %
> > > ท่านคิดเช่นนั้นหรือไม่ ทุกปัญหามีทางออก . . >บางทีแค่เพียงแต่เราเปลี่ยน "ทัศนคติ "
> > ของเราเสียใหม่เท่านั้นเอง มีเพียงแต่ “ทัศนคติ” ของเราเท่านั้น >ที่จะเป็นตัวนำทาง ไปสู่ความสำเร็จในชีวิต และงานที่ทำ
> > ความคิด & ทัศนคติ
> > สุดท้าย .... ลงมือทำ